ผศ.ดร.พีระ เจริญวัฒนนุกูล (Asst.Prof.Dr.Peera Charoenvattananukul)

ผศ.ดร.พีระ เจริญวัฒนนุกูล (Asst.Prof.Dr.Peera Charoenvattananukul)
สถานที่ทำงาน: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ถนนพระจันทร์ กรุงเทพฯ 10200
หมายเลขโทรศัพท์: 02-613-2301
อีเมล์: peera.lecture@gmail.compeerach@tu.ac.th

การศึกษา:

Ph.D. Politics and International Studies, University of Cambridge, United Kingdom
M.Phil. International Relations and Politics, University of Cambridge, United Kingdom
รัฐศาสตร์บัณฑิต (การเมืองและการระหว่างประเทศ ภาคภาษาอังกฤษ) (เกียรตินิยมอันดับ 1), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ความสนใจทางวิชาการ:

ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (เน้นประเด็น Status Concern และ Ontological Security)
นโยบายต่างประเทศไทย
ประวัติศาสตร์การพัฒนาระบอบระหว่างประเทศ
นโยบายต่างประเทศของรัฐขนาดเล็ก
ไทยกับสงครามโลกครั้งที่สอง

ผลงานวิชาการบางส่วน:

– Peera Charoenvattananukul, “The End of Compromise: Political Meanings of Thailand’s First National Day Celebrations on 24 June 1939”, Asian Studies Review (accepted on 21 September 2020).
– พีระเจริญวัฒนนุกูล, “การแสวงหาสถานะและการยอมรับ: พฤติกรรมก้าวร้าวของเยอรมนี ก่อนการอุบัติขึ้นของมหาสงคราม,” รัฐศาสตร์สาร 40, 3 (กันยายน-ธันวาคม 2562): 94-137
– พีระ เจริญวัฒนนุกูล, “การแสวงหาสถานะและการยอมรับของไทย: เหตุแห่งการทวงคืนดินแดนจากอินโดจีนฝรั่งเศส ใน พ.ศ. ๒๔๘๓“, ศิลปวัฒนธรรม (กันยายน 2562)
– พีระ เจริญวัฒนนุกูล, “พินิจแนวคิด Soft Power อย่างจริงจัง: ปัญหาและความเข้าใจผิดในการประยุกต์ใช้แนวคิดนี้ในงานวิชาการไทย,” รัฐศาสตร์นิเทศ 4, ฉ. 1-2 (กรกฎาคม-ธันวาคม พ.ศ. 2561): 237-277
– Peera Charoenvattananukul, “Beyond Bamboo Diplomacy: the Factor of Status Anxiety and Thai Foreign Policy Behaviours”, Routledge Handbook of Contemporary Thailand, edited by Pavin Chachavalpongpun (Oxon: Routledge 2019)
– พีระ เจริญวัฒนนุกูล และ จิตติภัทร พูนขำ, “ยุทธศาสตร์ใหญ่ของเมตเตอร์นิคกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ,” รัฐศาสตร์ 38/2 (2560).
– พีระ เจริญวัฒนนุกูล, “การลาออกแต่ไม่ยอมลาออกของจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ. 2486,” ศิลปวัฒนธรรม (สิงหาคม 2559).
– จิตติภัทร พูนขำ และ พีระ เจริญวัฒนนุกูล, โลก(ไร้)WMDs: ระบอบระหว่างประเทศและการควบคุมอาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง. (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2559).

หนังสือ:

Peera Charoenvattananukul. Ontological Security and Status-Seeking: Thailand’s Proactive Behaviours during the Second World War (London: Routledge 2020)

ทุนการศึกษาที่ได้รับ:

Cambridge-Thai Foundation Scholarship (สำหรับระดับปริญญาเอก)