รศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ (Assoc.Prof.Dr.Prajak Kongkirati)

ศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ (Assoc.Prof.Dr.Prajak Kongkirati)
สถานที่ทำงาน: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ถนนพระจันทร์ กรุงเทพฯ 10200
หมายเลขโทรศัพท์: 02-613-2301
อีเมล์: prajakk@yahoo.com

การศึกษา:

ร.บ. (เกียรตินิยมอันดับสอง) (การเมืองการปกครอง), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 1998
ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์) (รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2002
M.A. Political Science Department, University of Wisconsin-Madison, 2008
Ph.D., Department of Political and Social Change, Australian National University, Canberra, Australia, 2013

ความสนใจทางวิชาการ:

การเมืองเอเชียอาคเนย์
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย
ประชาธิปไตย และประชาสังคม (Civil society)
ความรุนแรง และความขัดแย้งทางการเมือง

ผลงานวิจัย:

ศีลธรรมของความรุนเเรงและความรุนเเรงของศีลธรรมในวิกฤตประชาธิปไตยไทย (2556-2557)

พลวัตทางการเมืองเรื่องการเลือกตั้งและประชาธิปไตยในอาเซียน: ศึกษาเปรียบเทียบประเทศมาเลเซีย อินโดนีเเชีย และฟิลิปปินส์

บทความ:

วิกฤตความแตกแยกว่าด้วยสถาบันและวัฒนธรรมการขึ้นสู่อำนาจในระบอบประชาธิปไตยของไทย: ศึกษากรณีความรุนแรงในการเลือกตั้ง 2554” (The Rise and Fall of Electoral Violence in Thailand: Changing Rules, Structures and Power

Thailand’s Failed 2014 Election: The Anti-Election Movemeant, Violence and Democratic Breakdown

Evolving power of provincial political families in Thailand: Dynastic power, party machine and ideological politics

Haunted Past, Uncertain Future: The Feagile Transition to Military-Guided Semi-Authoritarianism in Thailand

The Prayuth Regime: Embedded Military and Hierarchical Capitalism in Thailand

Overview: Political Earthquakes

หนังสือ:

When We Vote : พลวัตการเลือกตั้งและประชาธิปไตยในอาเซียน

ประชาธิปไตย: หลากความหมาย หลายรูปแบบ


และแล้วความเคลื่อนไหวก็ปรากฏ:การเมืองวัฒนธรรมของนักศึกษาและปัญญาชนก่อน 14 ตุลา

Case Studies หลากกรณีศึกษาประเด็นทางสังคมและการเมือง

ประชาธิปไตยในยุคเปลี่ยนผ่าน

การเมืองว่าด้วยการเลือกตั้ง: วาทกรรม อำนาจและพลวัตชนบทไทย

การเมืองวัฒนธรรมไทย

ป๋วยกับสังคมไทยในวิกฤตเปลี่ยนผ่าน

อดีต ปัจจุบัน และอนาคตประชาธิปไตยไทย (บรรณาธิการ)

ระหว่างปริศนาและศรัทธา : ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ กับการเมืองมนุษย์ในศตวรรษที่ 21