รศ.ดร.จิตติภัทร พูนขำ (Assoc.Prof.Dr.Jittipat Poonkham)
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์
สถานที่ทำงาน: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ถนนพระจันทร์ กรุงเทพฯ 10200
หมายเลขโทรศัพท์: 02-613-2301
อีเมล์: jittipat@tu.ac.th
การศึกษา:
ปริญญาเอก, PhD in International Politics, Aberystwyth University, UK
ปริญญาโท, MPhil in International Relations, St.Antony’s College, University of Oxford, UK
ปริญญาตรี, ร.บ. เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ), คณะรัฐศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ความสนใจทางวิชาการ:
ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองและนโยบายต่างประเทศของรัสเซีย
ระเบียบโลกและการเมืองระหว่างมหาอำนาจ
ประวัติศาสตร์การทูต
ภูมิรัฐศาสตร์และความมั่นคงศึกษาแนววิพากษ์
ผลงานวิจัย :
การศึกษาลู่ทางแสวงหาความร่วมมือด้านเศรษฐกิจและวิชาการระหว่างประเทศไทยกับประเทศตลาดใหม่ในยุโรปหรือการติดตามพัฒนาการของรัสเซียและยุโรปตะวันออก
ความมั่นคงและพลวัตรเชิงอำนาจในประเทศเพื่อนบ้าน: นัยยะที่มีต่อประเทศไทย (Security and Power Dynamics in the Neighbouring Countries: Their Implications for Thailand)
อำนาจ ความรู้และจริยศาสตร์ในสภาพจริงนิยมคลาสสิก: การศึกษา เปรียบเทียบทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของ E.H. Carr และ Hans J. Morgenthau
สำรวจวรรณกรรมทำงวิชาการว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยรัสเซีย
การศึกษากรอบการเจรจาข้อตกลงและสนธิสัญญาระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับประเด็นการแพร่ขยายอาวุธที่มานุภาพทำลายล้างสูงและการควบคุมการลดอาวุธตามแบบ อาวุธเล็ก อาวุธเบา และอาวุธชนิดอื่นๆ
บทความ:
ยุทธศาสตร์ใหญ่ของเมตเตอร์นิคกบัความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ(ค.ศ.1815-1848)
การหวนคืนของภูมิรัฐศาสตร์? มหาอำนาจกับกรณีพิพาททะเลจีนใต้
การเปลี่ยนผ่านอำนาจโลกในโลกเปลี่ยนผ่านอำนาจ? ข้อถกเถียงเชิงทฤษฎี ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยการเมืองระบบข้ัวอำนาจเดียว การครองอำนาจนำและ ยุทธศาสตร์ของสหรัฐอเมริกาต่อจีน”
การประท้วง Euromaidan: “การปฏิวัติโดยปราชน” ในยูเครน?
ทฤษฎีเศรษศาสตร์กำรเมืองระหว่างประเทศแนววิพากษ์: กุลลดา เกษบุญชู มี้ด กับตำแหน่งแห่งที่ทางวิชาการในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
อันล่วงละเมิดมิได้? กลุ่มล็อบบี้อิสราเอลกับนโยบายต่างประเทศของ สหรัฐอเมริกา
บารัค โอบามา วอลล์สตรีท และเสรีนิยมใหม่: เบื้องหลังเศรษฐกิจการเมืองของ สหรัฐอเมริกาหลังวิกฤตเศรษฐกิจปี2008
พินิจทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแนวสัจนิยมใหม่(Neorealism): ว่าด้วยความเป็นเจ้าของสหรัฐอเมริกากับดุลแห่งอำนาจในยุคหลังสงครามเย็น
พลังงานกับอำนาจ: ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศรัสเซียและสหภาพยุโรป
หนังสือ:
ตุรกี โอกาศไทย เชื่อมโยง ยูเรเชีย
“เพื่อนบ้าน” พลวัตรเชิงอำนาจ ความมั่นคงและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
มหาอำนาจกับสถาปัตยกรรมทางความมั่นคงในเอเชีย-แปซิฟิก
ไม่มีความสมานฉันท์ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ?การศึกษาทฤษฎี ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในประเทศไทย
ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ: สาขาวิชาและความแตกต่าง หลากหลาย
ทฤษฎีการเมืองระหว่างประเทศและซอมบี้
บอลข่าน-ยุโรป-โลก: สถานะ โอกาส แนวโน้ม และผลกระทบต่อไทย