ศ.ธเนศ วงศ์ยานนาวา (Prof.Thanes Wongyannava)

ศ.ธเนศ วงศ์ยานนาวา (Prof.Thanes Wongyannava)
บรรณาธิการรัฐศาสตร์สาร
สถานที่ทำงาน: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ถนนพระจันทร์ กรุงเทพฯ 10200
หมายเลขโทรศัพท์: 02-613-2301
หมายเลขโทรสาร: 02-226-5651

การศึกษา:

ร.บ. (เกียรตินิยมอันดับสอง) (สังคมวิทยา – มานุษยวิทยา), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
M.S. (Sociology), University of Wisconsin Madison, U.S.A.
M.Phil (Social & Political Theory), University of Cambridge, England

ผลงานวิจัย:

สังคม-รัฐศาสตร์กับประสาทวิทยาศาสตร์

บทความ:

  • “Historicism หลังเฮเกล รันเก และโครเช่” ใน รัฐศาสตร์สาร 9, 3 (ก.ย.-ธ.ค.26) 1-36
  • “อ่านงานฟูโก้” ใน วารสารธรรมศาสตร์ 14, 3 (ก.ย. 2528) 36-57
  • “มิเชล ฟูโกต์: ปัญญาชน ความจริงและอำนาจ” ใน วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง ปีที่ 5 ฉบับที่ 1-2 (ต.ค. 28-มี.ค. 29) 142-154
  • “บทส่งท้าย ตรรกะของการกดบังคับ ฟูโก้และเฟมินิส” ใน รัฐศาสตร์สาร 12, 13 (เม.ย.29-30) 166-178
  • “มิเชล ฟูโก้และอนุรักษนิยมใหม่” ใน วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง 6,3-4 (ต.ค.31) 16-37
  • “นำเที่ยวสวนจูราสสิคดูสัตว์ประหลาดดึกดำบรรพ์และสัตว์โลกปัจจุบัน” ใน สังคมศาสตร์ปริทัศน์ 17,1 (ก.ค.-ธ.ค.37) 101-107
  • “กรุณาอย่ามีทฤษฎีที่เป็นนามธรรม: เราเป็นชาวอังกฤษ”, สังคมศาสตร์ปริทัศน์ 17,1 (ก.ค.-ธ.ค.37) , 15-24
  • “ภาพตัวแทน แทนสิ่งที่แทนไม่ได้” ใน จุลสารไทยคดีศึกษา 12, 1 (ส.ค.-ต.ค. 2538) 16-18
  • “ประชาธิปไตยไทยหลังสมัยใหม่” ใน จินตนาการสู่ปี 2000 : นวกรรมเชิงกระบวนทัศน์ด้านไทยศึกษา?ชัยวัฒน์ สถาอานันท์, บรรณาธิการ, (กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2539)
  • “ความรัก/ความรู้/ความตาย : เมื่ออาทิตย์เริ่มอัสดง” ใน วารสารสังคมศาสตร์ 30,2 (พ.ค.39) 1-25
  • “มนุษย์โรแมนติคกับการบริโภคภาพเสรี” ใน จุลสารไทยคดีศึกษา 13, 3 (ก.พ.-เม.ย. 2540) 10-15
  • “ภาพตัวแทนของตูด” ใน เผยร่าง-พรางกาย: ทดลองมองร่างกายในศาสนา ปรัชญาการเมือง ปรวัติศาสตร์ ศิลปะ และมานุษยวิทยา, ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล, บรรณาธิการ, (กรุงเทพ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2541)
  • ” “ผีของมาร์กซ์” และ “ผีในมาร์กซ์” ข้อวิจารณ์ประวัติศาสตร์นิยมของพ็อพเพอร์และอัลธุสแซร์” ใน รัฐศาสตร์สาร 20, 2 (2541) 1-55
  • “ประวัติศาสตร์นิยม: จากวิโก้สู่กรัมชี่” ใน รัฐศาสตร์สาร 20, 3 (2541) 35-100
  • “ห้องสมุด: โลกที่ไร้เสียง” ใน รัฐศาสตร์สาร 21, 1 (2542) 301-313
  • ” “ท่อง” ไปในแดนโพสต์โมเดิร์น: ความเหมือน/อัตลักษณ์และความแตกต่างในการเมือง” ใน รัฐศาสตร์สาร 21, 2 (2542) 333-382
  • “อาณาเขตสาธารณะ/ประชาสังคมและนักมานุษยวิทยากับคนชายขอบ” ใน จุลสารไทยคดีศึกษา 15, 4 (พ.ค.-ก.ค. 2542) 16-37
  • “อภัยวิถี: เทววิทยาทางการเมือง ความทรงจำและความหลงลืมของประวัติศาสตร์ไทย” ใน รัฐศาสตร์สาร 22, 1 (2543) 130-183
  • “ปัญญาชนตะวันตกกับสภาวะสมัยใหม่: ความขัดแย้งและความต้องการ” ใน รัฐศาสตร์สาร 22, 3 (2543) 342-406
  • “Carl Schmitt: การเผชิญหน้ากับความลักลั่นของสภาวะสมัยใหม่” ใน วารสารสังคมศาสตร์ 32, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2544) 107-153
  • “ประวัติศาสตร์ครอบครัวตะวันตก: ประวัติศาสตร์คนใช้และการใช้คน” ใน รัฐศาสตร์สาร 23, 3 (2545) 1-49
  • “ความเป็นอนิจจัง ของอาหารจีนชั้นสูงในกรุงเทพ : การเดินทางสู่เส้นทางของอาหารประชาธิปไตย” ใน จุลสารไทยคดีศึกษา 18, 4 (พ.ย. 2545-ม.ค.2546) 42-51 และ ศิลปวัฒนธรรม 24, 4 (ก.พ. 2546) 132-145
  • “ประวัติศาสตร์และสหวิทยาการ: ชาตินี้เราคงรักกันไม่ได้” ใน รัฐศาสตร์สาร 24, 2 (2546) 297-334
  • “อำนาจอธิปไตยกับสภาวะสมัยใหม่: พื้นที่ลักลั่นและความเป็นตัวตน” ใน รัฐศาสตร์สาร 24, ฉบับพิเศษ (พ.ย.2546) 205-276
  • “ชาติพันธุ์วรรณาในความเป็นซับเจคของนักมานุษยวิทยา: จริยธรรม ระหว่างการหาความจริงและการสร้างความจริง” ใน รัฐศาสตร์สาร 24, 3 (2546) 154-189
  • “ประวัติศาสตร์และ “สัตสังคม” ของคาร์ล มาร์กซ์ ช่วงต้น บทวิจารณ์อุกฤษฏ์ แพทย์น้อย” ใน วารสารสังคมศาสตร์ 34, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2546) 55-72
  • “Michael Hardt & Antonio Negri ในฐานะ “Return of the Jedis”: เมื่อ Empire ถูก Strike Back” ใน วารสารสังคมศาสตร์ 34, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2546) 112-162
  • “องค์รวม/องค์ขาด/องค์อนันต์” ใน วารสารสังคมศาสตร์ 15, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2547) 63-111
  • “Michel Foucault กับรัฐเสรีนิยมใหม่ : วินัย/วิชา และสภาวะปกติ/สภาวะที่ผิดปกติ” ใน ดำรงวิชาการ 3, 5 (ม.ค. – มิ.ย. 2547) 271-290
  • “สภาวะสมัยใหม่ของวัฒนธรรมการอ่าน : ห้องสมุดกับการเผชิญหน้ากันของ ตา และ หู” ใน วารสารไทยคดีศึกษา 1, 2 (เม.ย.-ก.ย. 2547) 67-92
  • “การจัดระเบียบเพศในศิลปะ: จากภาพนู้ดสู่ภาพระดับ X” ใน รัฐศาสตร์สาร 25, 2 (2547) 204-223
  • “รากฐานปรัชญาการเมืองของ Antonio Negri กับ Empire” ใน รัฐศาสตร์สาร 25, 3 (2547) 180-255
  • “รัฐเสรีนิยมใหม่ ทรัพยากรมนุษย์และชุมชน.” ใน ฟ้าเดียวกัน 2, 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2547) 112-124
  • “The heart of the king is unsearchable” ใน ฟ้าเดียวกัน 3, 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2548) 124-140
  • ” “เหลี่ยมมุม” ของตัวต่อเลโก (Lego) : อำนาจท้องถิ่นกับจักรวรรดิ ” ใน พระอัจฉริยคุณในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว : เอกสารการสัมมนาทางวิชาการเนื่องในโอกาสเฉลิมฉลองศุภวาระ 200 ปี แห่งพระราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, จันทนี สุวรรณวาสี, บรรณาธิการ, (กรุงเทพฯ: สถาบันไทยคดีศึกษา, 2548)
  • “การแลกเปลี่ยนทางความคิดกับความ “ทัศนะ ‘ชุมชน’ กับการปกครองชีวญาณ : อำนาจที่ซ่อนเร้นในสาธารณสุขไท” ใน รัฐศาสตร์สาร 27, 1 (2549) 40-53
  • ” (การร่วม) เพศนอกสถาบันการแต่งงานในฐานะ ‘ระเบิด’: จากประวัติศาสตร์ ‘การสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง’ ถึง…” ใน รัฐศาสตร์สาร 27, 3 (ก.ย.-ธ.ค.2549) 1-55
  • “สิงคโปร์ : ภาพฝันของประเทศด้อยพัฒนาจากภาพสะท้อนของคนเดินทาง” DOME 6 (เม.ย.-มิ.ย.49) 50-60
  • ” ฐานทางความคิดของ “ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ” ” ใน วารสารสถาบันพระปกเกล้า 4, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2549) 77-90
  • “การ “ครอบ”, “ครัว” “ไฟ”: จากตะวันตกสู่ตะวันออก” ใน จักรวาลวิทยา : บทความเพื่อเป็นเกียรติแก่ นิธิ เอียวศรีวงศ์, ธเนศ วงศ์ยานนาวา, บรรณาธิการ, (กรุงเทพฯ: มติชน, 2549)
  • “วัฎจักรของทฤษฎีและประวัติศาสตร์ของชนชั้นกลาง : จากการปฏิวัติฝรั่งเศสสู่พฤษภาทมิฬ 19 กันยายน” ใน ศึกษา รู้จัก วิพากษ์คนชั้นกลาง : รวมบทความจากการสัมมนาทางวิชาการ,นลินี ตันธุวนิตย์, บรรณาธิการ,นพชัย แดงดีเลิศ, บรรณาธิการต้นฉบับ, (กรุงเทพฯ: คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550)
  • ” ปรับ ‘ลิ้นจีน’ให้เป็น ‘ลิ้นไทย'” ใน ข้ามขอบฟ้า : 60 ปี ชิเกฮารุ ทานาเบ, ขวัญชีวัน บัวแดง และ อภิญญา เฟื่องฟูสกุล, บรรณาธิการ, (กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2550)
  • “การรวมศูนย์ศิลปะของการกระจายตัวของศิลปะและการเมือง : จากสภาวะหลังสมัยใหม่สู่สภาวะสมัยใหม่” ใน รัฐศาสตร์สาร 29, ฉบับพิเศษ (2551) 203-274
  • ” ‘จากประเพณีประดิษฐ์’ สู่ความหลากหลายของ ‘วัฒนธรรม’ อาทิ ‘วัฒนธรรมทางสายตา’ ” ใน รัฐศาสตร์ธรรมศาสตร์ 60 ปี / รัฐศาสตร์สาร 30 ปี, เล่ม 4 , (กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552), pp. 317-391

หนังสือ (บางส่วน):

เช เกวารา กับ ความตาย (2541)
ปฏิวัติบริโภค: จากสิ่งของฟุ่มเฟือยมาสู่สิ่งจำเป็น (2550)
หนังอาร์ตไม่ได้มาเพราะโชคช่วย: ว่าด้วยการขึ้นมาเป็นศิลปะของภาพยนตร์ในสังคมบริโภค (2551)
ม(า)นุษย์โรแมนติค (2556)
เขียนหญิง: อำนาจ โยนี และการเขียนของลึงค์ (2556)
Max Weber: วิถีแห่งการบำเพ็ญตบะและอาชีพการเมือง (2556)